วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2563

3.5 การสรุปผลและการเผยแพร่ผลงาน

            หลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จสมบูรณ์แล้ว ผู้พัฒนาควรเขียนรายงานโครงงานและเผยแพร่ผลงาน ซึ่งมีรูปแบบและหัวข้อที่สำคัญดังนี้ อ่านเพิ่มเติม 






3.4 การดำเนินงาน

ในขั้นตอนการดำเนินงาน จะเป็นขั้นตอนที่พัฒนาชิ้นงาน หรือดำเนินกิจกรรมเพื่อให้ได้งานสำหรับส่งมอบ โดยขั้นตอนการพัฒนา สามารถแบ่งได้เป็น 3 ขั้นตอน อ่านเพิ่มเติม



3.3 การวางแผนและออกแบบโครงงาน

            การวางแผนการทำโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไป อ่านเพิ่มเติม



3.2 การศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหา

            การพัฒนาโครงงาน ควรศึกษาที่มาและความสำคัญของโครงงาน ว่าโครงงานนั้นแก้ปัญหาอะไร ได้ประโยชน์อย่างไร กับใครบ้าง หลังจากนั้นควรระบุวัตถุประสงค์ในการทำโครงงานให้ชัดเจน ว่าต้องการพัฒนาอะไร และควรที่จะต้องกำหนดแนวทางและขอบเขตของโครงงานว่าจะต้องแก้ปัญหา ในส่วนใดบ้าง ใช้ความรู้และทรัพยากรใดบ้าง แล้วจึงประเมินระยะเวลา และงบประมาณเท่าไหร่ อ่านเพิ่มเติม 




3.1 การกำหนดปัญหา

        นักวิเคราะห์ระบบจะต้องศึกษาเพื่อค้นหาปัญหา ข้อเท็จจริงที่แท้จริง ซึ่งหากปัญหาที่ค้นพบ มิใช่ปัญหาที่แท้จริง ระบบงานที่พัฒนาขึ้นมาก็จะตอบสนองการใช้งานไม่ครบถ้วน อ่านเพิ่มเติม



2.5 การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล

            การจัดเรียงและค้นหาข้อมูลเป็นสิ่งที่พบอยู่เสมอ เมื่อต้องการประมวลข้อมูลเป็นจำนวนมาก เช่น ครูตรวจข้อสอบของนักเรียน และต้องการบันทึกคะแนนลงมุดบันทึกคะแนนนักเรียนที่มีการเรียงเลขที่เอาไว้ การเรียงลำดับข้อมูลด้วยเงื่อนไขที่เหมาะสมจะทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

อ่านเพิ่มเติม 



2.4 การทำซ้ำ

        การแก้ปัญหาาจต้องมีการทำงานลักษณะเดียวกันซ้ำหลายรอบ ในหัวข้อนี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้รูปแบบการทำซ้ำในรายการและการทำซ้ำด้วยเงื่อนไข อ่านเพิ่มเติม




2.3 การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี

        ขั้นตอนวิธี (algorithm) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างเป็นลำดับ โดยประกอบด้วยชุดคำสั่งการทำงานอย่างเป็นลำดับและชัดเจน 

        การออกแบบขั้นตอนวิธี (algorithm development) เป็นการออกแบบขั้นตอนในการแก้ปัญหา ซึ่งในปัญหาเดียวกันอาจมีการออกแบบคำสั่งที่ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ของผู้แก้ไข อ่านเพิ่มเติม



2.2 การระบุข้อมูลเข้า ข้อมูลออก และเงื่อนไขของปัญหา

            การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์นั่น ก่อนที่ระบุขั้นตอนวิธีที่ชัดเจนได้ จะต้องวิเคราะห์และทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อให้ทราบว่ามีข้อมูลอะไรบ้างที่สามารถใช้ในการประมวลผลได้ มัเงื่อนไขต่างๆ อย่างไร ผลลัพธ์ที่ต้องการคืออะไร โดยจะแบ่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำงานออกเป็นสองส่วนคือ

           1.) ข้อมูลเข้า ( input ) เป็นข้อมูลที่ใช้เพื่อประมวลผล

           2.) ข้อมูลออก ( output ) เป็นข้อมูลผลลัพธ์ที่ต้องการ อ่านเพิ่มเติม



2.1 การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์

        การทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ จะทำตามโปรแกรมที่เขียนขึ้นมาทุกประการ ดังนั้นการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาช่วยสำหรับการแก้ปัญหา จึงต้องมีโปรแกรมสำหรับการแก้ปัญหานั้น เพื่อสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ ผู้ที่ทำการเขียนโปรแกรมจึงต้องทราบถึงวิธีการของการแก้ปัญหาที่ต้องการแก้ไขทุกขั้นตอน อ่านเพิ่มเติม



วันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

ถ้ายังจำกันได้ถึงการผลักด้น พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 ที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติให้ความเห็นชอบเมื่อเดือนธันวาคม เมื่อปีที่ผ่านมา (2559) และได้ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 24 มกราคม ล่าสุด มีผลบังคับใช้แล้วในวันที่ 24 พ.ค.นี้ อ่านเพิ่มเติม

3.5 การสรุปผลและการเผยแพร่ผลงาน

               หลังจาก การพัฒนาโครงงานเสร็จสมบูรณ์แล้ว ผู้พัฒนาควรเขียนรายงานโครงงานและเผยแพร่ผลงาน ซึ่งมีรูปแบบและหัวข้อที่สำคัญดังนี้ อ่าน...